Hospital profile
ตัวชี้วัดที่ 1 Top 10 Diagnosis (OPD)
ตัวชี้วัดที่ 2 Top 10 Diagnosis (IPD)
ตัวชี้วัดที่ 3 Top 10 High Mortality Patient(รวมทั้งอำเภอ)
ตัวชี้วัดที่ 4 Top 10 High Risk Patient
มาตรฐานสำคัญจำเป็น
ตัวชี้วัดที่ 5 มาตรฐาน III-4.3(4) อุบัติการณ์การผ่าตัดผิดคน ผิดข้าง ผิดตำแหน่ง ผิดหัตถการ ทั้งหมด/ระดับความรุนแรงระดับ E ขึ้นไป(ราย)
ตัวชี้วัดที่ 6 มาตรฐาน II-4.2(1) การติดเชื้อที่สำคัญในสถานพยาบาลตามบริบทขององค์กรในกลุ่ม SSI,VAP, CAUTI,CABSI
ตัวชี้วัดที่ 7 มาตรฐาน II-4.2(3) บุคลากรติดเชื้อจากการปฏิบัติหน้าที่
ตัวชี้วัดที่ 8 มาตรฐาน II-6.1(3) การเกิด medication error และ adverse drug event
ตัวชี้วัดที่ 9 มาตรฐาน II-7.4 อุบัติการณ์การให้เลือดผิดคน ผิดหมู่ ผิดชนิด
ตัวชี้วัดที่ 10 มาตรฐาน III-1(8) อุบัติการณ์การระบุตัวผู้ป่วยผิดพลาดทั้งหมด/ระดับ E ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 11 มาตรฐาน III-2(4) อุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการวินิจฉัยโรคทั้งหมด/ระดับ E ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 12 มาตรฐาน II-7.2ข(3) การรายงานผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการคลาดเคลื่อน
ตัวชี้วัดที่ 13 มาตรฐาน III-1(3) การคัดแยกที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อน รวมทั้งหมด
– อัตราของการคัดแยกที่ห้องฉุกเฉิน under triage
– อัตราของการคัดแยกที่ห้องฉุกเฉิน over triage
– อุบัติการณ์การคัดแยกที่ห้องฉุกเฉินคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 14 อัตราการคัดกรองแยกประเภทผู้ป่วยได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัดที่ 15 การคัดแยกคลาดเคลื่อน รวมทั้งหมด
– อัตราของการคัดแยก under triage
– อัตราของการคัดแยก over triage
– อุบัติการณ์การคัดแยกคลาดเคลื่อนระดับ E ขึ้นไป รวมทั้งหมด
LED (I-1)
ตัวชี้วัดที่ 16 อัตราการรับรู้ทิศทางการนำองค์กรโดยการรับรู้และเข้าใจวิสัยทัศน์ พันธกิจ และค่านิยม
ตัวชี้วัดที่ 17 ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานขององค์กร (ITA)
ตัวชี้วัดที่ 18 อุบัติการณ์การข้อร้องเรียนด้านธรรมาภิบาล ไม่ได้ปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ พฤติกรรมที่ไม่มีจริยธรรม
ตัวชี้วัดที่ 19 โรงพยาบาลผ่านการรับรองคุณภาพ HA ขั้น 3
FNR
ตัวชี้วัดที่ 20 Current ratio
ตัวชี้วัดที่ 21 Quick ratio
ตัวชี้วัดที่ 22 Cash ratio
ตัวชี้วัดที่ 23 Risk Score
STG (I-2)
ตัวชี้วัดที่ 24 ร้อยละของหน่วยงานที่ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
ตัวชี้วัดที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์
PCM (I-3)
ตัวชี้วัดที่ 26 อัตราความพึงพอใจในการให้บริการผู้ป่วยนอก
ตัวชี้วัดที่ 27 อัตราความพึงพอใจในการให้บริการของผู้ป่วยใน
ตัวชี้วัดที่ 28 อัตราความพึงพอใจในการให้บริการสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 29 จำนวนข้อร้องเรียนทั้งหมด/แยกประเภท
– ด้านพฤติกรรมบริการ (ครั้ง )
– สถานที่และสิ่งแวดล้อม ( ครั้ง )
– ด้านความล่าช้ารอนาน (ครั้ง)
– ด้านระบบงานและการดูแล ( ครั้ง)
– ด้านระบบคิว (ครั้ง)
– ด้านสิทธิการรักษา/จรรยาบรรณวิชาชีพ (ครั้ง)
– ด้านอื่นๆ ( ครั้ง )
ตัวชี้วัดที่ 30 จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับสิทธิผู้ป่วย
ตัวชี้วัดที่ 31 อัตราข้อร้องเรียนได้รับการตอบสนองในเวลาที่กำหนด(แยกประเภทข้อร้องเรียน)
IM (I-4)
ตัวชี้วัดที่ 32 IT user satisfaction ความพึงพอใจระบบ
ตัวชี้วัดที่ 33 อุบัติการณ์การเกิดระบบสารสนเทศขัดข้อง
HRD (I-5)
ตัวชี้วัดที่ 34 อัตราการคงอยู่บุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 35 อัตราการย้าย/ลาออกบุคลากร (Turnover rate)
ตัวชี้วัดที่ 36 ความผูกพันและความพึงพอใจบุคลากร
ตัวชี้วัดที่ 37 ดัชนีความสุขบุคลากร (Happinometer index)
ตัวชี้วัดที่ 38 อัตราการตรวจสุขภาพประจำปีของบุคลากร
OPT (I-6)
ตัวชี้วัดที่ 39 ร้อยละของหน่วยงานขององค์กรที่ต้องได้การรับรองว่าผ่านเกณฑ์มาตรฐานจากหน่วยงานภายนอก (NCD Clinic, Green & Clean Hospital , ER คุณภาพ, LAB , รังสีวิทยา)
ตัวชี้วัดที่ 40 ต้นทุนต่อหน่วยบริการผู้ป่วยนอก
ตัวชี้วัดที่ 41 ต้นทุนต่อหน่วยบริการผู้ป่วยใน
ตัวชี้วัดที่ 42 จำนวนสัญญาซื้อ/จ้าง ที่มีการตรวจรับงาน/การส่งมอบ ผิดเงื่อนไขของสัญญา
ตัวชี้วัดที่ 43 จำนวนเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับด้านความไม่โปร่งใส ในการจัดซื้อจัดจ้าง
ตัวชี้วัดที่ 44 ผลการพัฒนาคุณภาพตามแนวทาง 3P (CQI)
ตัวชี้วัดที่ 45 จำนวนงานวิจัยและนวัตกรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพบริการ
ตัวชี้วัดที่ 46 อุบัติการณ์ความไม่พร้อมออกปฏิบัติ
ตัวชี้วัดที่ 47 การเมื่อเกิดภัยพิบัติ/ภาวะฉุกเฉิน (ครั้ง)
ตัวชี้วัดที่ 48 หน่วย FR ของหน่วย อปท./ชุมชน มีส่วนร่วมในการให้บริการการแพทย์ฉุกเฉิน
RM (II-1)
ตัวชี้วัดที่ 49 จำนวนการเกิดอุบัติการณ์ ระดับ E ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 50 อุบัติการณ์เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ด้าน clinic ระดับ E ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 51 ร้อยละของอุบัติการณ์ความเสี่ยงระดับ E ขึ้นไปได้รับการแก้ไข
ตัวชี้วัดที่ 52 อุบัติการณ์การเกิด fail catheter (trauma จากการใส่ ETT, Foley cath ,NG)
ตัวชี้วัดที่ 53 อุบัติการณ์การ CPR ไม่ถูกต้องหรือเครื่องมือไม่พร้อมใช้
ตัวชี้วัดที่ 54 จำนวนการเสียชีวิตในโรงพยาบาลทั้งหมด / (แยก 5 อันดับโรค)
– อุบัติการณ์ผู้ป่วย Unexpected death ทั้งหมดในโรงพยาบาล / (แยก 3 อันดับโรค)
– อุบัติการณ์ผู้ป่วย Unexpected death ที่ IPD / (แยก 3 อันดับโรค)
– อุบัติการณ์ผู้ป่วย Unexpected death ที่ ER / (แยก 3 อันดับโรค)
ตัวชี้วัดที่ 55 จำนวนผู้ป่วยส่งต่อทั้งหมด
– ร้อยละผู้ป่วยขอส่งต่อโดยไม่สมเหตุสมผล (ญาติ/ผู้ป่วยต้องการ,ตามสิทธิ์) / (แยก 3 อันดับโรค)
– จำนวนผู้ป่วย Unplanned refer / (แยก 3 อันดับโรค)
– อุบัติการณ์ผู้ป่วยเสียชีวิตระหว่าง refer
ตัวชี้วัดที่ 56 ร้อยละผู้ป่วยที่กลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำใน 28 วันด้วยโรคเดิม / (แยก 3 อันดับโรค)
ตัวชี้วัดที่ 57 ร้อยละผู้ป่วยกลับมารักษาซ้ำภายใน 48 ชม.ด้วยโรคเดิม / (แยก 3 อันดับโรค)
NUR (II-2.1)
ตัวชี้วัดที่ 58 อัตราความพึงพอใจของบุคลากรทางการพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 59 อัตราการคงอยู่ของบุคลากรทางการพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 60 ร้อยละของบุคลากรทางการพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะตามเกณฑ์สำนักงาน ก.พ.
– สมรรถนะหลัก
– สมรรถนะเฉพาะงาน
ตัวชี้วัดที่ 61 อัตราความพึงพอใจผู้ป่วยนอกต่อบริการพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 62 อัตราความพึงพอใจผู้ป่วยในต่อบริการพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 63 อัตราความพึงพอใจผู้ป่วยในชุมชนต่อบริการพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 64 จำนวนข้อร้องเรียนพยาบาลด้านพฤติกรรมบริการ
ตัวชี้วัดที่ 65 จำนวนข้อร้องเรียนพยาบาลด้านกระบวนการดูแลผู้ป่วย
ตัวชี้วัดที่ 66 ระยะเวลารอคอยเฉลี่ยผู้ป่วยนอก
ตัวชี้วัดที่ 67 อุบัติการณ์พลัดตกหกล้ม ตกเตียง
ตัวชี้วัดที่ 68 อัตราการเกิดแผลกดทับในโรงพยาบาลระดับ 2-4 (ครั้ง/1000วันนอน)
MSO (II-2.2)
ตัวชี้วัดที่ 69 ร้อยละการสรุปเวชระเบียนผู้ป่วยในส่งทันเวลาที่กำหนด
ตัวชี้วัดที่ 70 ค่าเฉลี่ย CMI ผ่านเกณฑ์
ตัวชี้วัดที่ 71 ข้อร้องเรียนด้านจริยธรรม(แพทย์)
ENV (II-3)
ตัวชี้วัดที่ 72 ร้อยละการผ่านเกณฑ์มาตรฐานการสอบเทียบของเครื่องมือที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยพร้อมใช้
ตัวชี้วัดที่ 73 อุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุจากการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 74 มาตรฐานการจัดบริการอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัดที่ 75 ดำเนินงานตามมาตรฐาน GREEN&CLEAN Hospital
IC (II-4)
ตัวชี้วัดที่ 76 ก. การเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วย
1.อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล /1000 วันนอน
2.อัตราการติดเชื้อเฉพาะตำแหน่ง
2.1.อัตราการติดเชื้อที่ปอด (HAP)
2.2.อัตราการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะจากการคาสายสวนปัสสาวะ CAUTI/1000 cath day
2.3.อัตราการเกิด Phlebitis (/1000วันให้สารน้ำ)
3.อัตราการติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล
ตัวชี้วัดที่ 77 ข.การเฝ้าระวังในบุคลากร
อุบัติการณ์ได้รับอุบัติเหตุถูกของมีคม ทิ่มตำ/ สัมผัสเลือดและสารคัดหลั่ง
ร้อยละของบุคลากรที่ติดเชื้อจากการทำงาน
MRA (II-5)
ตัวชี้วัดที่ 78 ร้อยละความสมบูรณ์เวชระเบียนผู้ป่วยใน
ตัวชี้วัดที่ 79 ร้อยละความสมบูรณ์เวชระเบียนผู้ป่วยนอก
PTC (II-6)
ตัวชี้วัดที่ 80 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอก
– Prescribing error
– Transcribing error
– Pre-dispensing error
– Dispensing error
– Administration error
ตัวชี้วัดที่ 81 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยใน
– Prescribing error
– Transcribing error
– Pre-dispensing error
– Dispensing error
– Administration error
ตัวชี้วัดที่ 82 อัตราความคลาดเคลื่อนทางยาระดับ E- I
ผู้ป่วยนอก
ผู้ป่วยใน
ตัวชี้วัดที่ 83 อุบัติการณ์การแพ้ยาซ้ำ
ตัวชี้วัดที่ 84 อุบัติการณ์ ADE ระดับ E – I (ครั้ง)
ตัวชี้วัดที่ 85 อัตรามูลค่าคงคลัง/มูลค่าจ่าย
ตัวชี้วัดที่ 86 ผ่านเกณฑ์การประเมิน RDU Hospital
ตัวชี้วัดที่ 87 ร้อยละการประเมินการใช้ยาอย่างเหมาะสม (Drug Use Evaluation)
DIN (II-7)
ตัวชี้วัดที่ 88 อัตราการถ่ายภาพทางรังสีซ้ำ
ตัวชี้วัดที่ 89 อุบัติการณ์การหญิงมีครรภ์ได้รับการเอกซเรย์โดยไม่ได้คัดกรอง
ตัวชี้วัดที่ 90 ระยะเวลาเฉลี่ยในการให้บริการถ่ายภาพรังสี
ตัวชี้วัดที่ 91 อัตราความพึงพอใจของผู้รับริการถ่ายภาพรังสี
ตัวชี้วัดที่ 92 ร้อยละของการการปฏิเสธตัวอย่าง
ตัวชี้วัดที่ 93 ร้อยละการประกันคุณภาพการตรวจ วิเคราะห์ภายใน (IQC) ครบถ้วนและ ถูกต้อง ทั้ง 6 สาขา
ตัวชี้วัดที่ 94 ร้อยละการประกันคุณภาพการตรวจ วิเคราะห์ภายนอก (EQA) ครบถ้วนและ ถูกต้อง ทั้ง 6 สาขา
ตัวชี้วัดที่ 95 ร้อยละอุบัติการณ์การตรวจวิเคราะห์และรายงานผลตรวจวิเคราะห์ Lab คลาดเคลื่อน ทั้งหมด
ตัวชี้วัดที่ 96 อุบัติการณ์การตรวจวิเคราะห์และรายงานผลตรวจวิเคราะห์ Lab คลาดเคลื่อน ระดับ E ขึ้นไป
ตัวชี้วัดที่ 97 ร้อยละของการรายงานผลตรวจวิเคราะห์ทันเวลา (Turn Around Time)
ตัวชี้วัดที่ 98 ร้อยละของของการรายงานผลค่าวิกฤติ
ตัวชี้วัดที่ 99 จำนวนความผิดพลาดในการจ่ายเลือด
ตัวชี้วัดที่ 100 อุบัติการณ์การให้เลือดผิดคน ผิดหมู่ ผิดชนิด ทั้งหมด/ระดับ E
DHS (II-8)
ตัวชี้วัดที่ 101 ความครบถ้วน และความถูกต้อง ของการรายงาน 506
ตัวชี้วัดที่ 102 ความทันเวลาของการรายงาน รง.506
ตัวชี้วัดที่ 103 ความครบถ้วนการสอบสวนโรคเฉพาะราย
ตัวชี้วัดที่ 104 ผลการประเมินมาตรฐานทีม SATและทีม JIT อำเภอห้างฉัตร
ตัวชี้วัดที่ 105 รายงานการสอบสวนโรคเฉพาะรายในเจ้าหน้าที่ที่ติดเชื้อจากการทำงาน
ตัวชี้วัดที่ 106 อัตราป่วยต่อแสนประชากรด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัดที่ 107 อัตราป่วยต่อแสนประชากรด้วยโรคไข้หวัดใหญ่
COM (II-9)
ตัวชี้วัดที่ 108 อัตราความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย (สตรีอายุ 30-70 ปี)ได้รับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัดที่ 109 ร้อยละของประชากรวัยทำงาน 30-44ปี มีค่าดัชนีมวลกายปกติ
ตัวชี้วัดที่ 110 อัตราหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในระดับดีมาก
ตัวชี้วัดที่ 111 จำนวนชมรมผู้สูงอายุระดับตำบลผ่านเกณฑ์
โภชนาการ (III-4.3ค)
ตัวชี้วัดที่ 112 จำนวนข้อร้องเรียนเรื่องความสะอาดของอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 113 ร้อยละของการพบเชื้อก่อโรคในอาหาร จากผลการ swab ภาชนะ มือผู้สัมผัสอาหาร และอาหาร
ตัวชี้วัดที่ 114 การปฏิบัติงานตามหลักสุขาภิบาล (30ข้อ)
ตัวชี้วัดที่ 115 อัตราผู้ป่วยได้รับอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัดที่ 116 อัตราของผู้ป่วยที่ได้รับอาหารไม่ตรงตามคำสั่งแพทย์
ตัวชี้วัดที่ 117 อัตราการแจกอาหาร ถูกต้อง ถูกคน ถูกเตียง ถูกโรค
ตัวชี้วัดที่ 118 อัตราญาติผู้ป่วยสามารถผลิตอาหารปั่นผสมได้ตามคำแนะนำ
Palliative (III-4.3ง,จ)
ตัวชี้วัดที่ 119 ร้อยละผู้ป่วยระยะท้ายได้รับการดูแลแบบประคับประคองตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัดที่ 120 ร้อยละของผู้ป่วยระยะท้ายได้รับข้อมูลและมีส่วนร่วมในการวางแผนล่วงหน้า(Advance Care Plan)
ตัวชี้วัดที่ 121 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการทำ ACP มีการติดตามประเมินการบรรลุเป้าหมายตาม ACP
ตัวชี้วัดที่ 122 ร้อยละผู้ป่วย palliative ได้รับการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่างๆด้วย Strong Opioid อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัดที่ 123 ร้อยละผู้ป่วยมะเร็งได้รับการบรรเทาอาการปวดและจัดการอาการต่างๆด้วย Strong Opioid อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัดที่ 124 ร้อยละของความพึงพอใจของผู้ป่วยและครอบครัวในการดูแลแบบประคับประคอง
ตัวชี้วัดที่ 125 ร้อยละผู้ป่วยที่มีการดูแลแบบประคับประคองต่อเนื่องที่บ้าน
ตัวชี้วัดที่ 126 ร้อยละการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยระยะเปลี่ยนผ่าน(IMC)ในหอผู้ป่วย
ฟื้นฟูสภาพ (III-4.3ฉ)
ตัวชี้วัดที่ 127 ร้อยละการเข้าถึงบริการผู้ป่วยระยะเปลี่ยนผ่าน(IMC)ในชุมชน
ตัวชี้วัดที่ 128 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง(IMC)ที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพมี BI เพิ่มขึ้น
COC
ตัวชี้วัดที่ 129 อัตราผู้ป่วยส่ง COC ได้รับการดูแลต่อเนื่องครอบคลุม
ตัวชี้วัดที่ 130 อัตราการตอบกลับข้อมูลผลการเยี่ยมบ้าน
ตัวชี้วัดที่ 131 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ

ตัวชี้วัดที่ 132 อุบัติการณ์ความไม่ถูกต้องในการดูแลผู้ป่วยระหว่างส่งต่อ โรงพยาบาลลำปาง/โรงพยาบาลเกาะคา
ตัวชี้วัดที่ 133 อุบัติการณ์ความไม่พร้อมใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ขณะส่งต่อ
ตัวชี้วัดที่ 134 อุบัติการณ์การเกิดอุบัติเหตุยานพาหนะขณะส่งต่อผู้ป่วย
DM(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 135 ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน ได้รับการติดตาม
ตัวชี้วัดที่ 136 อัตรากลุ่มเสี่ยงเบาหวานจากการคัดกรองประชากรอายุ35ปีขึ้นไป ลดลงจากปีที่ผ่านมา
ตัวชี้วัดที่ 137 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยง DM ที่ป่วยเป็นรายใหม่
ตัวชี้วัดที่ 138 ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ HbA1C <7%
ตัวชี้วัดที่ 139 ร้อยละการคัดกรองค้นหาภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย DM
– ตา
– เท้า
– ไต
– หัวใจและหลอดเลือด
ตัวชี้วัดที่ 140 ร้อยละการขาดนัดผู้ป่วย DM
HT(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 141 ประชากร 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง และเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตาม
ตัวชี้วัดที่ 142 อัตรากลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป ลดลงจากปีที่ผ่านมา
ตัวชี้วัดที่ 143 ร้อยละของกลุ่มเสี่ยง HT ที่ป่วยเป็นรายใหม่
ตัวชี้วัดที่ 144 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ (<140/90 mmHg)
ตัวชี้วัดที่ 145 ร้อยละการขาดนัดผู้ป่วย HT
stroke(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 146 ร้อยละผู้ป่วย stroke เข้าถึงระบบบริการได้ทันเวลา ภายใน 3 ชั่วโมง หลังเกิดอาการ
ตัวชี้วัดที่ 147 ร้อยละของผู้ป่วย Stroke fast track ที่ได้รับการส่งต่อภายใน 30 นาที
ตัวชี้วัดที่ 148 ร้อยละผู้ป่วย stroke เข้าระบบ Fast track ตามเกณฑ์ CPG
ตัวชี้วัดที่ 149 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
ตัวชี้วัดที่ 150 ร้อยละผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับการฟื้นฟูสภาพมี ADL ดีขึ้น
STEMI(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 151 ร้อยละผู้ป่วยSTEMI ได้ทำEKG ภายใน 10 นาที
ตัวชี้วัดที่ 152 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับการส่งต่อภายใน 30 นาที
ตัวชี้วัดที่ 153 ร้อยละของผู้ป่วย STEMI สามารถให้ยาละลายลิ่มเลือด (SK ) ได้
ตัวชี้วัดที่ 154 อุบัติการณ์การวินิจฉัยผิดพลาดในผู้ป่วย AMI
ตัวชี้วัดที่ 155 จำนวนผู้ป่วย MI เสียชีวิตในโรงพยาบาลหรือระหว่างนำส่ง
ตัวชี้วัดที่ 156 อัตราตายในโรงพยาบาลของผู้ป่วย STEMI
ตัวชี้วัดที่ 157 อัตราการตายในโรงพยาบาลของผู้ป่วย NSTMI < 5%( ประเทศ)< 6% ( จังหวัด)
ตัวชี้วัดที่ 158 อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ (I20-I25)
sepsis(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 159 ร้อยละผู้ป่วยSepsis มีการคัดกรองโดยใช้ SOFA qSOFA Score
ตัวชี้วัดที่ 160 ร้อยละของผู้ป่วยที่วินิจฉัย sepsis ได้รับ ABO ภายใน 1 ชั่วโมงแรก
ตัวชี้วัดที่ 161 ร้อยละการเกิด Septic shock ในผู้ป่วย Sepsis
COPD(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 162 อัตราการเกิด COPD AE
ตัวชี้วัดที่ 163 ร้อยละของผู้ป่วย COPD Re admit ใน 28 วัน
ตัวชี้วัดที่ 164 ร้อยละของผู้ป่วย COPD/AE ได้รับยาICS/LABA
ตัวชี้วัดที่ 165 ร้อยละของผู้ป่วย COPD ที่สามารถเลิกบุหรี่ได้
ตัวชี้วัดที่ 166 ร้อยละของผู้ป่วย COPD ที่ได้รับวัคซีนไข้หวัดใหญ่
TB(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 168 ร้อยละของความสำเร็จในการรักษาวัณโรค
ตัวชี้วัดที่ 169 ร้อยละการเสียชีวิตผู้ป่วยวัณโรค
ตัวชี้วัดที่ 170 ร้อยละการขาดการรักษาในผู้ป่วยวัณโรค
HIV(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 171 ร้อยละผู้ติดเชื้อรายใหม่เข้าถึงยาต้านไวรัส
ตัวชี้วัดที่ 172 ร้อยละผู้ติดเชื้อที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสสามารถกดปริมาณไวรัสได้(>90%)
ตัวชี้วัดที่ 173 ร้อยละของผู้ติดเชื้อที่ได้รับยาต้านไวรัสที่คงอยู่ในการรักษา60เดือนหลังกินยา
CKD(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 174 ร้อยละผู้ป่วยCKDมีอัตราการลดลงของ eGFR <4ml/min/1.73mg/ปี
ตัวชี้วัดที่ 175 ร้อยละผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะ CKD St.5
ตัวชี้วัดที่ 176 ร้อยละของผู้ป่วย CKD stage 5 ได้รับการส่งต่อพบแพทย์เฉพาะทาง
ตัวชี้วัดที่ 177 ร้อยละผู้ป่วยCKD stage 5ได้บำบัดทดแทนไต
ซึมเศร้า(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 178 ร้อยละการเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า
ฆ่าตัวตาย(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 179 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
ตัวชี้วัดที่ 180 ร้อยละของการฆ่าตัวตายซ้ำ
ยาเสพติด(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 181 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดกลุ่มเสี่ยงก่อความรุนแรงได้รับการประเมินและติดตามดูแลต่อเนื่อง
ตัวชี้วัดที่ 182 ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้ารับการบำบัดรักษาและติดตามดูแลต่อเนื่อง 1 ปี
Head Injury(PCT)
ตัวชี้วัดที่ 183 ร้อยละผู้ป่วย Head Injury จากอุบัติเหตุจราจรที่นำส่งด้วยระบบ EMS